ยิ่งแก่ตัว กระดูกคอยิ่งเสื่อม

ยิ่งแก่ตัว กระดูกคอยิ่งเสื่อม คุณเคยไหม ที่เวลาหันศีรษะแล้วมีเสียงดังกร๊อบ ๆ บริเวณต้นคอ หรือมีอาการปวดคอ อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อขยับและเคลื่อนไหวคอ ถ้ามีอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นไปได้ว่าคุณอาจกำลังจะเป็น “โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม” ซึ่งเป็นโรคที่เกิดขึ้นได้ตามความเสื่อมถอยของร่ายกาย และอายุ ส่วนไหนที่ถูกใช้งานมากและบ่อย ๆ ก็จะเสื่อมเร็วกว่าส่วนที่ใช้งานน้อย โดยปกตินั้นกระดูกสันหลังคอจะมีการเคลื่อนไหวมากครั้งในแต่ละชั่วโมง และยังจะต้องรับแรงกด แรงบิดและแรงตึงเครียดอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน ทำให้เป็นโรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย ๆ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ โดยปกติแล้วคนเรานั้นคอจะเริ่มเสื่อมโดยที่ไม่รู้ตัว...

ยิ่งแก่ตัว กระดูกคอยิ่งเสื่อม คุณเคยไหม ที่เวลาหันศีรษะแล้วมีเสียงดังกร๊อบ ๆ บริเวณต้นคอ หรือมีอาการปวดคอ อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อขยับและเคลื่อนไหวคอ ถ้ามีอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นไปได้ว่าคุณอาจกำลังจะเป็น “โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม” ซึ่งเป็นโรคที่เกิดขึ้นได้ตามความเสื่อมถอยของร่ายกาย และอายุ ส่วนไหนที่ถูกใช้งานมากและบ่อย ๆ ก็จะเสื่อมเร็วกว่าส่วนที่ใช้งานน้อย โดยปกตินั้นกระดูกสันหลังคอจะมีการเคลื่อนไหวมากครั้งในแต่ละชั่วโมง และยังจะต้องรับแรงกด แรงบิดและแรงตึงเครียดอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน ทำให้เป็นโรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย ๆ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ โดยปกติแล้วคนเรานั้นคอจะเริ่มเสื่อมโดยที่ไม่รู้ตัว เมื่อมีอายุระหว่าง 35-40 ปี ความสามารถของการเคลื่อนไหวบริเวณคอจะเริ่มเสียไปทีละน้อย ทำให้มีอาการปวดคอเมื่อพยายามเหลียวคอเต็มที่...

ยิ่งแก่ตัว กระดูกคอยิ่งเสื่อม คุณเคยไหม ที่เวลาหันศีรษะแล้วมีเสียงดังกร๊อบ ๆ บริเวณต้นคอ หรือมีอาการปวดคอ อาการปวดจะเป็นมากขึ้นเมื่อขยับและเคลื่อนไหวคอ ถ้ามีอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นไปได้ว่าคุณอาจกำลังจะเป็น “โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม” ซึ่งเป็นโรคที่เกิดขึ้นได้ตามความเสื่อมถอยของร่ายกาย และอายุ ส่วนไหนที่ถูกใช้งานมากและบ่อย ๆ ก็จะเสื่อมเร็วกว่าส่วนที่ใช้งานน้อย โดยปกตินั้นกระดูกสันหลังคอจะมีการเคลื่อนไหวมากครั้งในแต่ละชั่วโมง และยังจะต้องรับแรงกด แรงบิดและแรงตึงเครียดอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน ทำให้เป็นโรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อม โรคข้อกระดูกสันหลังคอเสื่อมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย ๆ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ โดยปกติแล้วคนเรานั้นคอจะเริ่มเสื่อมโดยที่ไม่รู้ตัว เมื่อมีอายุระหว่าง 35-40 ปี ความสามารถของการเคลื่อนไหวบริเวณคอจะเริ่มเสียไปทีละน้อย ทำให้มีอาการปวดคอเมื่อพยายามเหลียวคอเต็มที่...

เล่นดี สมองดี มีศักยภาพ

เด็กรู้จักการเล่นตั้งแต่เล็ก และพัฒนาการเล่นมากขึ้นตั้งแต่ตื่นจนหลับ การเล่นจะช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสอย่างต่อเนื่องซ้ำแล้วซ้ำอีก ทำให้เซลล์สมองเชื่อมประสานกันมากขึ้น เยื่อหุ้มใยประสาทหนามากขึ้น เป็นส่วนสำคัญของพัฒนาการและการเพิ่มศักยภาพ การเล่นของเด็กเป็นการใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างเสริมประสบการณ์ และช่วยพัฒนาสมองของเขาสำหรับลูกวัยแรกเกิด คุณพ่อคุณแม่อาจกังวลว่า ทารกตัวเล็ก ๆ ยังเปราะบางจะสามารถเล่นกับลูกได้แล้วหรือ ลูกไม่น่าจะรู้เรื่องการเล่นมากไปกว่าการกินหรือการนอน ความจริงแล้ว ถึงแม้ชีวิต 2 เดือนแรกของทารกส่วนใหญ่จะหมดไปกับการนอนหลับ 50-75% ก็ไม่ได้หมายความว่าทารกจะรู้จักเพียงการกินและการนอน แต่ทารกยังมีช่วงตื่นตัวและพร้อมจะรีเยนรู้นั่นก็คือในช่วง...

รู้จักระบบประสาทสัมผัสของลูกน้อยในครรภ์

คุณแม่จะเล่นกับลูกได้ดี หากรู้ว่าระบบประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของลูกน้อยในครรภ์พัฒนาไปอย่างไร โดยระบบประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของลูกน้อยในครรภ์จะเกิดขึ้นในเวลาที่แตกต่างกัน เริ่มรู้สึกถึงการสัมผัสแล้วในสัปดาห์ที่ 8 ลูกในครรภ์เริ่มรู้สึกและรับรู้ถึงการสัมผัสแล้ว ในระยะแรกที่น้ำหนักตัวยังน้อย ทารกสามารถเคลื่อนไหวแขนขาได้สะดวก แต่เมื่อน้ำหนักตัวมากขึ้น ทารกจะจมลงสู่ฐานของมดลูกของแม่ เกิดการสัมผัสระหว่างผิวหนังของทารกกับผิวด้านในของมดลูก ซึ่งเป็นการกระตุ้นระบบประสาทสัมผัสรับความรู้สึก เสริมสร้างให้เกิดใยประสาทของการรับความรู้สึกมากขึ้น นอกจานี้ การเคลื่อนไหวของน้ำคร่ำในมดลูก และรอบ ๆ ตัวทารก เปรียบเสมือนแม่ที่คอยลูบไล้ตัวลูก ช่วยพัฒนาระบบประสาทรับความรู้สึก...

พัฒนาการทางสมองของลูกน้อยในครรภ์

เดือนที่ 1-2หลังปฏิสนธิได้ประมาณ 18 วัน เซลล์ที่เกิดจากไข่กับสเปิร์มผสมกัน และแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ส่วนหนึ่งจะเจริญเติบโตเป็นสมอง เริ่มมีรูปร่างที่มองเห็นได้ว่าเป็นเนื้อเยื่อสมอง โดยแรกเริ่มเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วค่อย ๆ โค้งเข้ามาบรรจบกันเป็นท่อเหมือนหลอดกาแฟ ต่อมาหลอดนี้จะเริ่มโป่งพองจัดโครงสร้างเป็นสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และสมองส่วนหลัง เดือนที่ 2-3ระยะนี้ เซลล์สมองจะมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ประมาณนาทีละ 250,000 เซลล์ และแยกรูปแบบเป็นสมองกับไขสันหลังอย่างชัดเจน เซลล์สมองเริ่มมีการเคลื่อนย้ายไปยังตำแหน่งต่าง ๆ ของสมองเพื่อทำหน้าที่ต่าง ๆ และเริ่มมีเส้นใยประสาทยื่นออกมาติดต่อถึงกัน อาศัยปฏิกิริยาของสารเคมีจากเซลล์สมอง ทำให้เกิดประจุไฟฟ้าวิ่งไปมาระหว่างเซลล์สมอง...

แนวคิดเสริมสร้างศักยภาพสมองสู่มหัศจรรย์แห่งพัฒนาการ

มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่า สมองเด็กมีการเจริญเติบโตสูงสุดถึง 80% ในช่วงตั้งครรภ์ ถึง 3 ปีแรก ดังนั้นการกระตุ้นสมองเด็กด้วยวิธีการที่เหมาะสมในช่วงวัยนี้จึงสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้สมองของเด็กได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สมองเติบโตจากากรที่เซลล์สมองขายขนาดและมีการสร้างเครือข่ายเส้นใยประสาทมากขึ้น ยิ่งสมองได้รับการกระตุ้นมากเท่าไหร่ เครือข่ายเส้นในประสาทจะมีมาขึ้น ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็ก ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการของเด็กกล่าวว่า มีปัจจัยสำคัญ 3 ประการที่มีผลต่อการเติบโตของสมอง และส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก ได้แก่ พันธุกรรม โภชนาการ และสภาพแวดล้อมของการเลี้ยงดูเด็ก ซึ่ง 2 ปัจจัยหลังเป็นสิ่งที่พ่อแม่สามารถควบคุมหรือสร้างได้ โดยให้เด็กได้รับโภชนาการ...

ทารกเรียนรู้ภาษาที่สองได้ตั้งแต่แรกเกิด

สมองของเด็กมีช่วงเวลาทองของการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ในแต่ละช่วงแตกต่างกันไป ถ้าเด็กไม่ได้เรียนรู้ในช่วงเวลานั้น ๆ การพัฒนาให้เต็มศักยภาพทำได้ยาก เพราะผ่านช่วงเวลาที่ดีที่สุดของการพัฒนาเรื่องนั้น ๆ ไปแล้ว เช่น การเรียนรู้ภาษาที่ 2 ที่นอกเหนือไปจากภาษาแม่ เด็กจะเรียนได้ดีตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึง 7 ปี ถึงเด็กจะยังพูดไม่ได้ แต่เขาก็จะซึมซับภาษาเหล่านั้นจากการได้ยิน ได้ฟัง เมื่อเขาโตพอที่จะพูดได้ เขาก็จะสามารถออกเสียงภาษาเหล่านั้นออกมาได้ เหมือนเจ้าของภาษา หรือออกเสียงได้ใกล้เคียงมาก สมองส่วนที่ทำงานเกี่ยวกับการพูด และภาษาคือ Broca’s area ซึ่งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับที่พบเซลล์กระจกเงา และนักวิทยาศาสตร์ก็พบว่าความสามารถทางภาษา เป็นผลมาจากการทำงานของเซลล์...

คุณค่าอาหาร เพื่อเสริมสร้างมหัศจรรย์แห่งพัฒนาการลูกน้อยในครรภ์

คุณค่าอาหาร เพื่อเสริมสร้างมหัศจรรย์แห่งพัฒนาการลูกน้อยในครรภ์ อายุครรภ์ อาหารและสารอาหารที่เหมาะสม เดือนที่ 1 -ดื่มน้ำผลไม้สด หรือนมวันละ 1 แก้ว แต่หากแพ้ท้องมากควรงดนมไว้ก่อน-รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้ครบทั้ง 5 หมู่ โดยเฉพาะโฟเลต และอาหารประเภทปลาทะเลที่มีดีเอชเอ เช่น ปลาทูน่า หรือน้ำมันสกัดจากผลิตภัณฑ์ทางทะเล ที่จะส่งผลดีต่อระบบการทำงานของเซลล์สมองลูกน้อยในครรภ์ เดือนที่ 2 - คุณแม่ที่มีอาการแพ้ท้อง คลื่นไส้ จึงควรรับประทานอาหารอ่อน ๆ ที่ย่อยง่าย มีโปรตีนสูง เช่น ข้าวต้ม หรือโจ๊ก-ควรรับประทานผลไม้สด เป็นอาหารว่าง เดือนที่ 3 คุณแม่บางท่านอาจเริ่มมีอาการท้องผูก จึงควรดื่มน้ำให้มากหรือรับประทานผักผลไม้มาก ๆ เพ่อช่วยเพิ่มเส้นใยที่จะช่วยให้ถ่ายง่ายขึ้น เดือนที่ 4 ทารกในครรภ์เริ่มมีการสร้างกระดูกและฟัน...

Baby Signs กับการหัดพูดของลูก

Baby Signs หรือภาษาท่าทางของเด็กก่อนวัยพูดได้ เป็นศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องของเทคนิค การสื่อสารกับเด็กก่อนพูดที่มีมานานกว่า 20 ปีแล้ว ดร.ลินดา อเครโดโล่ และ ดร.ซูซาน กู๊ดวิน ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัย California at Davis ประเทศสหรัฐอเมริกา คือผู้ค้นพบศาสตร์แขนงนี้ โดยเริ่มจากการสังเกตเห็นพฤติกรรมของลูกตัวเองที่พยายามใช้ภาษาท่าทางในการสื่อสารกับผู้อื่น จึงเป็นแรงผลักดันให้นักจิตวิทยาทั้งสองศึกษาเชิงวิชาการ เพื่อสังเกตว่าเด็กทุกคนสามารถสื่อสารและฝึกฝนการใช้ Baby Signs ได้หรือไม่ จากการค้นคว้าพบว่า เด็กทารกสามารถสื่อสารด้วยท่าทาง และสามารถฝึกสอน Baby Signs ได้ทุกคน Baby Signs เปรียบคล้ายกับ “อวัจนภาษา” ซึ่งก็คือภาษาท่าทาง เช่น เมื่อพอใจเราก็สอนให้เด็กยิ้ม...

บทบาทคุณพ่อต่อลูกน้อยแรกคลอด

ความเป็นพ่อเริ่มต้นอย่างสมบูรณ์เมื่อลูกน้อยคลอดออกมา ซึ่งลูกน้อยต้องการการดูแลจากคนเป็นพ่อไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าคนเป็นแม่ จากการศึกษาพบว่า พ่อที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของลูกยิ่งมากเท่าไหร่ ลูกก็จะยิ่งมีสุขภาพที่แข็งแรง ฉลาด และมีความสุขมากขึ้นเท่านั้น ดังที่มีผลการศึกษามากมายแสดงถึงผลดีของการที่พ่อมีส่วนร่วมในชีวิตของลูก ไม่ว่าจะเป็น พ่อที่แสดงความรักและใช้เวลากับลูกบ่อย ๆ จะช่วยให้ทารกมีความรู้สึกผูกพันและมีความรู้สึกมั่นคงเด็กทารกที่พ่อมีส่วนในการดูแลเรื่องสุขอนามัย เช่น เปลี่ยนผ้าอ้อม อาบน้ำ ป้อนนม ป้อนข้าว ป้อนอาหาร ฯลฯ จะมีแนวโน้มในการพัฒนาระบบประสาท การแก้ปัญหา และทักษะทางภาษาดีกว่า การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูก ช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางกายภาพดีขึ้น...

10 เรื่องที่แม่ตั้งครรภ์ต้องการจากพ่อ

1.    ต้องการให้คุณพ่อพาไปฝากครรภ์ หรือไปพบแพทย์ทุกครั้ง เพราะไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงที่เข้มแข็งแค่ไหน แต่ช่วงตั้งครรภ์จิตใจคุณแม่จะเปลี่ยนแปลงง่าย และต้องการคนสำคัญมาช่วยดูแล มาช่วยกันซักถามแพทย์และแสดงให้เห็นว่าแม่และลูกในครรภ์เป็นสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับชีวิตเขา ช่วงนี้เป็นเวลาที่คุณพ่อจะแสดงความรัก ความห่วงใยต่อคุณแม่ได้ดีที่สุด2.    แสดงออกให้รู้ถึงความรักความห่วงใย เช่น ถามไถ่ “เป็นอย่างไรบ้างวันนี้” “เดินช้า ๆ นะครับ” “อยากได้อะไรก็บอกนะจ๊ะ” ฯลฯ หรือเตือนให้กินยาตามที่แพทย์สั่งให้ หรือถือโอกาสนี้รับหน้าที่จัดการเรื่องการกินให้คุณแม่ ถามไถ่เธอว่าอยากกินอะไรแล้วก็ช่วยจัดมื้ออาหารคุณภาพที่เหมาะสมกับแม่ตั้งครรภ์ให้แก่เธอด้วย...

Page 1 of 39123Next

บทความสุขภาพที่เีกี่ยวข้อง